๑. เสริมสร้างบ้านเมืองน่าอยู่ คุณภาพชีวิตที่ดี มีรายได้และอาชีพที่เหมาะสม และชุมชนเข้มแข็ง
กลยุทธ์ :-
๑.๑ พัฒนาและปรับปรุง ผังเมืองรวม ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ตลอดทั้งโครงสร้างพื้นฐานให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน สามารถรองรับความเจริญเติบโตทางสังคมและเศรษฐกิจ
๑.๒ เพิ่มศักยภาพบุคลากรด้วยความรู้คู่คุณธรรม พร้อมกับการพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐให้สะอาด โปร่งใส ตรวจสอบได้ เพื่อยกระดับการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน
๑.๓ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์บนพื้นฐานความเสมอภาคโดยสร้างโอกาสยกระดับคุณภาพการศึกษาเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ด้านคุณภาพและการเรียนรู้ในครอบคลุมทุกสถาบันการศึกษา ตลอดจนเปิดโอกาสในการเรียนรู้และเข้าถึงแหล่งข้อมูลสารสนเทศได้อย่างกว้างขวาง ถูกต้อง เป็นธรรมและรวดเร็ว
๑.๔ พัฒนาความเป็นอยู่ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งวัยเด็ก วัยทำงาน และผู้สูงอายุ ส่งเสริมให้ประชากรวัยทำงานให้มีงานทำ คุ้มครองแรงงานเด็กและสตรี ส่งเสริมบริการสาธารณสุข สุขอนามัย และกีฬา รวมทั้งสนับสนุนให้มีการบริหารจัดการทางสังคมที่เหมาะสมและเท่าเทียมกัน
๑.๕ ส่งเสริมให้มีการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม คุ้มครอง ส่งเสริมและขยายโอกาสในประกอบอาชีพของประชาชน เพิ่มศักยภาพของชุมชน เชื่อมโยงเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน นำไปสู่การพึ่งตนเอง และลดปัญหาความยากจน
๑.๖ ช่วยเหลือและสนับสนุนการมีงานทำและรายได้ของประชาชนเพื่อลดผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจถดถอย และสร้างความเชื่อมันและกระตุ้นเศรษฐกิจในภาพรวม
๑.๗ เสริมสร้างสถาบันครอบครัวและชุมชนให้มีความมั่นคงเข้มแข็ง ปลอดยาเสพติด มีความมั่นคงและปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
๑.๘ ส่งเสริมให้ประชาชนมีความเข้มแข็งในการร่วมพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง การสร้างสรรค์สังคมให้เกิดความสมานฉันท์ และความมั่นคงภายในและชายแดนวิกฤติการณ์ด้านสาธารณภัย การดำเนินกิจกรรมสาธารณสุขชุมชน รวมทั้งสนับสนุนการดำเนินการของกลุ่มประชาชนในลักษณะเครือข่าย ให้สามารถแสดงความคิดเห็น และเสนอความต้องการของชุมชนในพื้นที่อย่างมีส่วนร่วม
๒. พัฒนาภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การแปรรูป ให้มีคุณภาพและปลอดภัย
กลยุทธ์ :-
-
ส่งเสริมกระบวนการผลิต ภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การแปรรูปสินค้า เพื่อเพิ่มมูลค่าโดยมุ่งพัฒนาผลผลิตที่มีคุณภาพและปลอดภัยต่อผู้บริโภค
-
ส่งเสริมพัฒนาการปลูกพืชที่สอดคล้องกับการตลาด โดยส่งเสริมการลดต้นทุนการผลิต เพิ่มรายได้ในภาคการเกษตร
-
เสริมสร้างพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการให้กับ ภาคเกษตรกร และผู้ประกอบการ ตลอดจนการส่งเสริมกลุ่มธุรกิจ ผู้ประกอบการ SMEs ให้มีความเข้มแข็ง
-
ส่งเสริมการศึกษาการวิจัย การสร้างนวัตกรรม และการบริหารจัดการตลาดสินค้าเกษตรกรรมอุตสาหกรรม และการแปรรูป
-
พัฒนาทุนทางวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์
กลยุทธ์ :-
-
ทำนุบำรุง รักษา และสืบทอดประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น โดยการเชื่อมโยงกับการพัฒนาทางสังคม การท่องเที่ยว และเศรษฐกิจ
-
ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น และภูมิปัญญาไทย เพื่อใช้ในการผลิตสินค้า บริการ การประกอบอาชีพ และการพัฒนาคุณภาพชีวิต
-
ส่งเสริมเชื่อมโยงเส้นทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ กับเพื่อนบ้านทั้งภายในและต่างประเทศ
-
ดำรงไว้ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ การจัดการสิ่งแวดล้อม และพลังงาน ที่ดี
กลยุทธ์ :-
-
สนับสนุนให้มีการสร้างสมดุลการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ พร้อมกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ การฟื้นฟูทรัพยากรดิน การพัฒนาแหล่งน้ำ การบริหารจัดการน้ำอย่างเป็นระบบและคุ้มค่า เพื่อรักษา ดำรงไว้ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ และสนับสนุนการขยายผลโครงการตามแนวพระราชดำริ
-
กระจายการถือครองที่ดินอย่างเป็นธรรม และดำเนินการจัดกรรมสิทธิ์ในที่ดินของประชาชน ให้เพียงพอแก่การอยู่อาศัยและการเกษตรกรรม โดยคำนึงถึงความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ทั้งผืนดิน ผืนน้ำ วิถีชีวิตของชุมชนท้องถิ่น อย่างยั่งยืนและมีส่วนร่วม
-
ส่งเสริมพัฒนาการบริหารจัดการสภาพแวดล้อมเมืองและท้องถิ่น ภายใต้การมีส่วนร่วมของชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เพื่อประโยชน์ในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
ส่งเสริม บำรุงรักษา และคุ้มครองคุณภาพสิ่งแวดล้อม การผลิตและการใช้พลังงานทดแทนอย่างเหมาะสมมีประสิทธิภาพ ตามหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน ตลอดจนควบคุมและกำจัดภาวะมลพิษที่มีผลต่อสุขภาพอนามัย สวัสดิการและคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยประชาชนชุมชนท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องมีส่วนร่วมในการกำหนดแนวทางการดำเนินงาน
-
ส่งเสริมการปลูกพืชพลังงาน และสนับสนุนการใช้พลังงานทดแทนทุกประเภท โดยคำนึงถึงการกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และลดต้นทุนการผลิตของประชาชนเป็นสำคัญ
๕. เพิ่มศักยภาพ การค้า การลงทุน การท่องเที่ยว และความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน
กลยุทธ์ :-
๕.๑ เสริมสร้างความร่วมมือและความรู้เกี่ยวกับการค้า การลงทุน และการบริการ ให้กับผู้ผู้ประกอบการทั้งภายในและต่างประเทศ
๕.๒ พัฒนาสัมพันธไมตรีและความร่วมมือกับจังหวัดภายในภูมิภาคและอื่น ๆ รวมทั้งต่างประเทศ โดยยึดหลักการปฏิบัติต่อกันอย่างเสมอภาค สนับสนุนการเพิ่มและขยายช่องทางการค้า การลงทุน การท่องเที่ยว และการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมอันดี อย่างยั่งยืน
๕.๓ พัฒนาศักยภาพการแข่งขันของผู้ประกอบการ พัฒนาเส้นทางการคมนาคมเชื่อมโยงเขตเศรษฐกิจชายแดน และระบบ Logistics ให้เอื้อประโยชน์ต่อการค้า การลงทุน การท่องเที่ยว เป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับการค้าในตลาดเดิม และแสวงหาตลาดใหม่
๕.๔ ส่งเสริมให้มีการประกอบกิจการ มีการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม ป้องกันการผูกขาดทั้งทางตรงหรือทางอ้อม และคุ้มครองผู้บริโภค
๕.๕ สนับสนุนให้มีการปรับปรุงและแก้ไข กระบวนการผ่านแดน เพื่ออำนวยความสะดวกด้านการค้าการลงทุน และการท่องเที่ยว
๕.๖ พัฒนาสินค้าและบริการ เสริมสร้างความปลอดภัยและสุขอนามัย ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค คู่ค้า และนักท่องเที่ยว
๕.๗ สนับสนุนให้มีการปรับปรุง พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
๔.๕ นโยบายการพัฒนาของอำเภอ
กรอบยุทธศาสตร์การจัดทำแผนยุทธศาสตร์พัฒนาอำเภอ พ.ศ.๒๕๕๓ ๒๕๕๖
ประเด็นยุทธศาสตร์ :
๑. เสริมสร้างบ้านเมืองน่าอยู่ คุณภาพชีวิตที่ดี มีรายได้และอาชีพที่เหมาะสม และชุมชนเข้มแข็ง
กลยุทธ์ :-
๑.๑ พัฒนาและปรับปรุง ผังเมืองรวม ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ตลอดทั้งโครงสร้างพื้นฐานให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน สามารถรองรับความเจริญเติบโตทางสังคมและเศรษฐกิจ
๑.๒ เพิ่มศักยภาพบุคลากรด้วยความรู้คู่คุณธรรม พร้อมกับการพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐให้สะอาด โปร่งใส ตรวจสอบได้ เพื่อยกระดับการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน
๑.๓ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์บนพื้นฐานความเสมอภาคโดยสร้างโอกาสยกระดับคุณภาพการศึกษาเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ด้านคุณภาพและการเรียนรู้ในครอบคลุมทุกสถาบันการศึกษา ตลอดจนเปิดโอกาสในการเรียนรู้และเข้าถึงแหล่งข้อมูลสารสนเทศได้อย่างกว้างขวาง ถูกต้อง เป็นธรรมและรวดเร็ว
๑.๔ พัฒนาความเป็นอยู่ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งวัยเด็ก วัยทำงาน และผู้สูงอายุ ส่งเสริมให้ประชากรวัยทำงานให้มีงานทำ คุ้มครองแรงงานเด็กและสตรี ส่งเสริมบริการสาธารณสุข สุขอนามัย และกีฬา รวมทั้งสนับสนุนให้มีการบริหารจัดการทางสังคมที่เหมาะสมและเท่าเทียมกัน
๑.๕ ส่งเสริมให้มีการกระจายรายได้อย่างเป็นธรรม คุ้มครอง ส่งเสริมและขยายโอกาสในประกอบอาชีพของประชาชน เพิ่มศักยภาพของชุมชน เชื่อมโยงเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน นำไปสู่การพึ่งตนเอง และลดปัญหาความยากจน
๑.๖ ช่วยเหลือและสนับสนุนการมีงานทำและรายได้ของประชาชนเพื่อลดผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจถดถอย และสร้างความเชื่อมันและกระตุ้นเศรษฐกิจในภาพรวม
๑.๗ เสริมสร้างสถาบันครอบครัวและชุมชนให้มีความมั่นคงเข้มแข็ง ปลอดยาเสพติด มีความมั่นคงและปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
๑.๘ ส่งเสริมให้ประชาชนมีความเข้มแข็งในการร่วมพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง การสร้างสรรค์สังคมให้เกิดความสมานฉันท์ และความมั่นคงภายในและชายแดนวิกฤติการณ์ด้านสาธารณภัย การดำเนินกิจกรรมสาธารณสุขชุมชน รวมทั้งสนับสนุนการดำเนินการของกลุ่มประชาชนในลักษณะเครือข่าย ให้สามารถแสดงความคิดเห็น และเสนอความต้องการของชุมชนในพื้นที่อย่างมีส่วนร่วม
๒. พัฒนาภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การแปรรูป ให้มีคุณภาพและปลอดภัย
กลยุทธ์ :-
๒.๑ ส่งเสริมกระบวนการผลิต ภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การแปรรูปสินค้า เพื่อเพิ่มมูลค่โดยมุ่งพัฒนาผลผลิตที่มีคุณภาพและปลอดภัยต่อผู้บริโภค
๒.๒ ส่งเสริมพัฒนาการปลูกพืชที่สอดคล้องกับการตลาด โดยส่งเสริมการลดต้นทุนการผลิต เพิ่มรายได้ในภาคการเกษตร
๒.๓ เสริมสร้างพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการให้กับ ภาคเกษตรกร และผู้ประกอบการ ตลอดจนการส่งเสริมกลุ่มธุรกิจ ผู้ประกอบการ SMEs ให้มีความเข้มแข็ง
๒.๔ ส่งเสริมการศึกษาการวิจัย การสร้างนวัตกรรม และการบริหารจัดการตลาดสินค้าเกษตรกรรมอุตสาหกรรม และการแปรรูป
๓. พัฒนาทุนทางวัฒนธรรม และประวัติศาสตร์
กลยุทธ์ :-
๓.๑ ทำนุบำรุง รักษา และสืบทอดประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น โดยการเชื่อมโยงกับการพัฒนาทางสังคม การท่องเที่ยว และเศรษฐกิจ
๓.๒ ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น และภูมิปัญญาไทย เพื่อใช้ในการผลิตสินค้า บริการ การประกอบอาชีพ และการพัฒนาคุณภาพชีวิต
๓.๓ ส่งเสริมเชื่อมโยงเส้นทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ กับเพื่อนบ้านทั้งภายในและต่างประเทศ
๔. ดำรงไว้ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ การจัดการสิ่งแวดล้อม และพลังงาน ที่ดี
กลยุทธ์ :-
๔.๑ สนับสนุนให้มีการสร้างสมดุลการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ พร้อมกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ การฟื้นฟูทรัพยากรดิน การพัฒนาแหล่งน้ำ การบริหารจัดการน้ำอย่างเป็นระบบและคุ้มค่า เพื่อรักษา ดำรงไว้ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ และสนับสนุนการขยายผลโครงการตามแนวพระราชดำริ
๔.๒ กระจายการถือครองที่ดินอย่างเป็นธรรม และดำเนินการจัดกรรมสิทธิ์ในที่ดินของประชาชน ให้เพียงพอแก่การอยู่อาศัยและการเกษตรกรรม โดยคำนึงถึงความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ทั้งผืนดิน ผืนน้ำ วิถีชีวิตของชุมชนท้องถิ่น อย่างยั่งยืนและมีส่วนร่วม
๔.๓ ส่งเสริมพัฒนาการบริหารจัดการสภาพแวดล้อมเมืองและท้องถิ่น ภายใต้การมีส่วนร่วมของชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เพื่อประโยชน์ในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๔.๔ ส่งเสริม บำรุงรักษา และคุ้มครองคุณภาพสิ่งแวดล้อม การผลิตและการใช้พลังงานทดแทนอย่างเหมาะสมมีประสิทธิภาพ ตามหลักการพัฒนาที่ยั่งยืน ตลอดจนควบคุมและกำจัดภาวะมลพิษที่มีผลต่อสุขภาพอนามัย สวัสดิการและคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยประชาชนชุมชนท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต้องมีส่วนร่วมในการกำหนดแนวทางการดำเนินงาน
๔.๕ ส่งเสริมการปลูกพืชพลังงาน และสนับสนุนการใช้พลังงานทดแทนทุกประเภท โดยคำนึงถึงการกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และลดต้นทุนการผลิตของประชาชนเป็นสำคัญ
๕. เพิ่มศักยภาพ การค้า การลงทุน การท่องเที่ยว และความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน
กลยุทธ์ :-
๕.๑ เสริมสร้างความร่วมมือและความรู้เกี่ยวกับการค้า การลงทุน และการบริการ ให้กับผู้ผู้ประกอบการทั้งภายในและต่างประเทศ
๕.๒ พัฒนาสัมพันธไมตรีและความร่วมมือกับจังหวัดภายในภูมิภาคและอื่น ๆ รวมทั้งต่างประเทศ โดยยึดหลักการปฏิบัติต่อกันอย่างเสมอภาค สนับสนุนการเพิ่มและขยายช่องทางการค้า การลงทุน การท่องเที่ยว และการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมอันดี อย่างยั่งยืน
๕.๓ พัฒนาศักยภาพการแข่งขันของผู้ประกอบการ พัฒนาเส้นทางการคมนาคมเชื่อมโยงเขตเศรษฐกิจชายแดน และระบบ Logistics ให้เอื้อประโยชน์ต่อการค้า การลงทุน การท่องเที่ยว เป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับการค้าในตลาดเดิม และแสวงหาตลาดใหม่
๕.๔ ส่งเสริมให้มีการประกอบกิจการ มีการแข่งขันอย่างเสรีและเป็นธรรม ป้องกันการผูกขาดทั้งทางตรงหรือทางอ้อม และคุ้มครองผู้บริโภค
๕.๕ สนับสนุนให้มีการปรับปรุงและแก้ไข กระบวนการผ่านแดน เพื่ออำนวยความสะดวก ด้านการค้าการลงทุน และการท่องเที่ยว
๕.๖ พัฒนาสินค้าและบริการ เสริมสร้างความปลอดภัยและสุขอนามัย ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค คู่ค้า และนักท่องเที่ยว
๕.๗ สนับสนุนให้มีการปรับปรุง พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
๔.๕ กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดอุตรดิตถ์ (๒๕๕๖ ๒๕๕๘)
วิสัยทัศน์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดอุตรดิตถ์
"เมืองแห่งคุณภาพชีวิตและเมืองน่าอยู่"
ลำดับที่
|
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
|
แนวทางการพัฒนา
|
๑
|
๑. ด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิต
|
๑.๑ ส่งเสริมและสนับสนุนระบบทางเศรษฐกิจและกลุ่มอาชีพให้มีความเข้มแข็ง
๑.๒ พัฒนา ส่งเสริม สนับสนุนการเพิ่มมูลค่าพืชผลทางการเกษตร
๑.๓ ส่งเสริมการเกษตรอินทรีย์ชีวภาพปลอดภัยจากสารพิษ
๑.๔ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นเป็นต้นทุนในการประกอบอาชีพ
๑.๕ ส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงอายุ ผู้พิการ เด็ก เยาวชน และผู้ป่วยเอดส์
๑.๖ ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาให้ได้มาตรฐานอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน และมีประสิทธิภาพ
๑.๗ ยกระดับคุณภาพชีวิตคนยากจน คนยากไร้ และผู้ด้อยโอกาส
๑.๘ ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนมีสุขภาพและพลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์ ควบคู่ไปกับการพัฒนาทางสาธารณสุขให้มีคุณภาพและบริการอย่างทั่วถึง
๑.๙ ส่งเสริมสนับสนุนด้านกีฬาและนันทนาการ
๑.๑๐ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
๑.๑๑ ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชน
|
๒
|
ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและอบายมุข
|
๒.๑ สนับสนุนการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดทุกด้าน
๒.๒ สนับสนุนการป้องกันปัญหายาเสพติดในทุกพื้นที่
๒.๓ สนับสนุนการรวมพลังแผ่นดินทุกภาคส่วนเพื่อเอาชนะยาเสพติดอย่างยั่งยืน ตามนโยบายและเป้าหมายของรัฐบาล
๒.๔ สนับสนุนกิจกรรม To Be Number One
|
๓
|
ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
|
๓.๑ พัฒนาเส้นทางคมนาคม ขนส่ง
๓.๒ พัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภค-บริโภค และการเกษตร
๓.๓ พัฒนาและปรับปรุงระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการให้ได้มาตรฐาน
๓.๔ จัดทำผังเมืองและการใช้ประโยชน์ที่ดิน
๓.๕ พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน
|
ลำดับที่
|
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
|
แนวทางการพัฒนา
|
๔
|
ด้านการส่งเสริมอาชีพ การลงทุน พาณิชยกรรม และการท่องเที่ยว
|
๔.๑ พัฒนาส่งเสริมอาชีพอย่างหลากหลายเน้นการฝึกทักษาด้านอาชีพ
๔.๒ ส่งเสริมและสนับสนุนการแก้ไขปัญหาความยากจนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
๔.๓ ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพอาชีพการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง
๔.๔ ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นให้ได้คุณภาพและมาตรฐานและเพิ่มช่องทางการเกษตร
๔.๕ ส่งเสริมการค้า และการลงทุน และการตลาดเพื่อรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน
๔.๖ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวของท้องถิ่น
๔.๗ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการท่องเที่ยว
๔.๘ พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์และส่งเสริมเครือข่ายการท่องเที่ยวชุมชน
๔.๙ ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์และจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว
|
๕
|
ด้านการบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
|
๕.๑ ส่งเสริมการอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งทรัพยากรน้ำและป่าไม้ในพื้นที่ลุ่มน้ำน่าน
๕.๒ สร้างจิตสำนึก การป้องกัน อนุรักษ์ ฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๕.๓ บูรณาการบริหารจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ
๕.๔ สร้างเครือข่ายการป้องกันและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
|
๖
|
ด้านศิลปะ วัฒนธรรม จาริต ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่นและการศึกษา
|
๖.๑ ส่งเสริมและสนับสนุนศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น
๖.๒ ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น การศึกษาทุกระดับและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
๖.๓ สร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู สืบทอด และตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีท้องถิ่น
๖.๔ ส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมของประชาชน
|
ลำดับที่
|
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
|
แนวทางการพัฒนา
|
๗
|
ด้านการจัดระเบียบชุมชน/สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย
|
๗.๑ ส่งเสริมการปกครองระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตลอดจนการมีส่วนร่วมของประชาชนและกระบวนการประชาสังคม
๗.๒ สร้างสภาพแวดล้อมเมืองและชุมชนให้สวยงามน่าอยู่
๗.๓ พัฒนาและส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
๗.๔ ส่งเสริมสนับสนุนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแก่ประชาชนและผู้ประสบภัย
๗.๕ การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการและการบริการประชาชน โดยยึดหลักธรรมาภิบาล
๗.๖ บูรณาการทำงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น ภาครัฐ ภาคเอกชน และหน่วยงานอื่น ๆ
|
|